ต้นทุนการผลิต เป็นปัจจัยที่สำคัญที่จะกำหนดว่าสินค้าจะมีราถูกหรือแพง เพราะต้นทุนการผลิตมีส่วนประกอบหลายอย่างที่เป็นปัจจัยหลักในการผลิต ทั้ง วัสดุ, ค่าแรงงาน, ค่าสาธารณูปโภคต่างๆ ดังนั้น การลดต้นทุนการผลิต จึงสำคัญอย่างมากในการทำให้สินค้ามีต้นทุนต่ำลง หรือกำไรเพิ่มขึ้น ซึ่งส่งผลดีต่อประสิทธิภาพการแข่งขันในตลาด..
Monday, February 29, 2016
ต้นทุนจม (Sunk cost)
ต้นทุนจม คือ ต้นทุนที่ได้ชำระไปหมดแล้ว จึงนับเป็นต้นทุนของอดีตซึ่งจะไม่เกี่ยวข้องกับการตัดสินใจในอนาคต เช่น เครื่องจักรที่ซื้อในจำนวนเงิน 1,200,000 บาท เมื่อปีก่อนจะถือเป็นต้นทุนจม ถ้าฝ่ายบริหารคิดจะเปลี่ยนเครื่องจักรในปีนี้ ต้นทุน 1,200,000 บาท ที่ลงทุนไปแล้วจะไม่เกี่ยวข้องกับการตัดสินใจในการเปลี่นแปลงเครื่องจักรนี้ด้วย นอกจากนี้ ต้นทุนจมยังหมายถึง ต้นทุนส่วนที่ขาดหายไปของราคาเครื่องจักรที่กำหนดไว้ เช่น เครื่องจักรที่ผ่านการใช้งานมาแล้ว 5 ปี ในปัจจุบันมีราคาตามบัญชี 500,000 บาท ถ้าเราขายเครื่องจักรนี้ได้เพียง 150,000 ต้นทุนจมจะเป็น 50,000 ที่ขาดหายไป
Subscribe to:
Post Comments (Atom)
-
ต้นทุนการผลิต ในงานกลึงนั้นก็คล้ายกับ ต้นทุนการผลิต ในงานขึ้นรูปชิ้นงานทั่วๆ ไป ที่จะประกอบไปด้วย ค่าใช้จ่ายแรงงาน, ค่าวัตถุดิบ และค่าใช้จ่า...
-
วิศวกรรมคุณค่ากับการลดต้นทุนการผลิต วิศวกรรมคุณค่า หรือ VE (Value Engineering) คือ การนำหลักทางทางวิศวกรรมเข้ามาช่วยในการวิเคราะห์ก...
-
องค์ประกอบของต้นทุนการผลิต ประกอบด้วยค่าใช้จ่าย 3 ส่วน คือ 1.ค่าใช้จ่ายด้านวัสดุ (Material Cost) 2.ค่าใช้จ่ายด้านแรงงาน (Labor Cost) 3.ค...
No comments:
Post a Comment